วันอังคารที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2553

.: แค่ผิดหวังเพียงครั้งเดียว :.

แค่ผิดหวังเพียงครั้งเดียว
เธอก็รู้สึกแล้วว่าชีวิตนี้หมดหวัง
แค่คนที่เธอรักคนหนึ่งเดินไปจากชีวิต
เธอก็รู้สึกแล้วว่าคนทุกคนเดินจากชีวิตเธอไปหมด

แค่เธอร้องไห้เพียงหนึ่งครั้ง
เธอก็รู้สึกแล้วว่าเธอจะไม่มีวันยิ้มได้อีก

โดยที่เธอไม่ได้นึกเลยว่า
นั่นเป็นเพียงแค่ความรู้สึก
ไม่ใช่ความเป็นจริง

เธอเสียใจ ก็แค่วันนี้ ตอนนี้
ความเป็นจริงคือไม่ใช่ตลอดไป
คนที่จากเธอไปก็แค่ไม่กี่คน

ความเป็นจริงคือ
เธอยังมีใครอีกมากมายที่อยู่กับเธอ

จริงอยู่ ... เมื่อเธอเป็นคนสัมผัส เป็นคนพบเจอ
เธอย่อมมีสิทธิ์จะคิด จะรู้สึก
แต่เมื่อรู้สึกแล้วก็ต้องรู้สึกให้เพียงพอ ให้พอดี

แค่นั้น แค่ตรงนั้น แค่เรื่องนั้น
เพราะไม่นานทุกอย่างก็จะดีขึ้น
เมื่อเวลาตรงนั้นผ่านไป

ไม่ใช่พอเกิดปัญหาขึ้นมาครั้งเดียว
เธอก็รู้สึกเลยเถิดไปไกล
คิดว่าจะต้องเป็นตลอดไป
ไม่มีเหตุผลที่ต้องคิดไปไกล
หรือต้องตัดสินว่านั่นคือ
ความรู้สึกทั้งหมดที่เหลือจากเวลาตรงนี้
จะต้องเป็นอย่างนี้ตลอดไป

จะหมดหวังก็หมดหวังไป
จะร้องไห้ก็ร้องไป
แต่ขอให้เชื่อเถอะว่า

นั่นเป็นเพียงความรู้สึกที่จะรู้สึกไม่นาน
แต่ความเป็นจริงของโลกจะทำให้เราเห็นว่า
ความรู้สึกของเราไม่ใช่สิ่งที่จำเป็นที่สุด

ความเป็นจริงต่างหากที่ทำให้ชีวิตเป็นชีวิตจริง

วันจันทร์ที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2553

ชัยชนะที่แท้จริงของชีวิต


แต่การเกิดปัญหาขึ้นมาแต่หละครั้ง


มันทำให้เราเข็มแข็งขึ้นมันทำให้เรา


ลุกขึ้นมาสุ้ใหม่อีกใคร


ถึงแม้เราจะต้องเริ่มนับ 1 ใหม่


แต่การที่เราเริ่มนับ 1 ใหม่นั้น


มันไม่ได้หมายความว่าเราล้มเหลว


แต่มันเป็นการทำให้เรารุ้สึกว่า


การที่เรา จะทำอะไรนั้น มันไม่ง่ายอย่างที่เราคิด


ดังนั้น...จงทำในสิ่งที่เราคิดว่ามันถุกแล้ว


และไม่ทำให้ใครเดือดร้อนก็พอ
นี้เหละคับชัยชนะที่แท้จริง
กับการดำรงชีวิตของคนเรา
*********-**********

วันพุธที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2553

เพื่อน(ในเวลามีทุกข์)

ในการแก้ปัญหาแต่หละครั้งเราไมสามารถ

แก้ปัญหาคนเดียวได้

แต่การมีเพื่อนที่ดีนั้น

มันยากกว่าการที่แก้ปัญหาเหล่านี้

แต่ดีที่ผมยังมีเพื่อนที่คอยช่วยเหลือในเวลาที่ผมมีปัญหา

และการที่เพื่อนมาช่วยงานเรา..แก้ปัญหาช่วยให้เรา

ทำให้เรารู้สึกว่าเรายังมีคนคอยช่วยเหลือในยามที่เราลำบาก

และการที่เราจะตอบแทนเพื่อนนั้นมันยากเหลือเกิน

ผมรู้สึกละอายในการที่เป็นคนอย่างนี้รู้สึกว่าตัวเองไม่มีค่าเลย

ไม่สามารถทำอะไรได้ดีสักอย่าง....ทำไปแล้วก็ไม่ได้ดี
แล้วผมต้องทำอย่างไร................
...............................ต่อพรุ้งนี้จร้า................................

วันอังคารที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2553

เรื่องที่คิดว่ามันง่ายอาจจะเป็นเรื่องที่ยากที่สุดก็ได้

การเล่นเกมส์หรือการเข้าร้านเน็ตนั้น

บางคนอาจจะเห็นเจ้าของร้านทำแค่การเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์

!! แต่นั้นมันแค่ภายนอกเท่านั้น !!

การที่จะสามารถเปิดร้านเกมส์ได้นั้นมัยง่านเหลือเกิน......

ก็แค่เรามีเครื่องคอมแล้วก็มีเกมส์แค่นั้นก็จบใช่มัยคับ...

แต่ทะว่าเมือเกิดปัญหาหละจะเอางัยดี

เรียนไอทีแล้วทำไรไม่เป็นมันชั้งทรมานที่สุด

เกิดปัญหาวันหละครั้ง.....แต่หละครั้งก็ต่างกัน

การที่จะแบ่งเวลามาทำงานที่บ้านก็น้อยเหลือเกิน

โอ้ยจะบ้าตาย.......เรียนอยู่ดีๆแม่โทรมาบอกว่าเครื่องมีปัญหา

ต้องโดดเรียนเพื่อไปซ้อมเครื่องที่บ้าน

แล้วการเรียนก็เริ่มจะแย้ไปตามๆกัน

บางวันแอบร้องไหย......เสียใจอยุ่คนเดียว

ว่าเราเรียนไอทีเนียเราไม่สามารถแก้ไขปัญหาบางอย่างได้


นี้แหละคับเรื่องที่เราคิดว่ามันง่าย....แต่ว่ามันไม่ใช้เลย

............................วันนี้เอาแค้นี้ก่อน..............................

วันอังคารที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2553

การทำให้รูปภาพเคลื่อนไหวโดยการใช้ ฟังก์ชัน Animation

การทำให้รูปภาพเคลื่อนไหวโดยการใช้ ฟังก์ชัน Animation
1. สร้างกระดาษขึ้นมาใหม่ File---new เลื่อก Width 800 Height 800
2. เปิดรูปภาพที่จะนำมาตัดต่อ File ---Open
3. ลบพื้นหลังออก Magic Eraser tool
4. เข้า Edit---Pupper warp---แล้วเลือกตำแหน่งในการเคลื่อนย้ายรูปภาพ
5. เพิ่ม Layer ขึ้นมาใหม่แล้วเปลียนรูปร่างของภาพตามต้องการ
6. ปลับ Layer แต่ละอันให้รูปไม่เหมือนกัน
7. เลือก ฟังก์ชัน Animation เพื่อจะสร้างภาพเคลื่อนไหว
8. เพิ่ม Layer ใน Animation แล้วเปิด 1 Layer ต่อ 1 ภาพ
9. ในการบันทึก ต้องคลิ้กที่ File---Save for Web & devices
10. กดที่ Save แล้วเลื่อกตำแหน่งที่จะบันทึก ก็เสร็จสิ้น







วันอังคารที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

ชนิดข้อมูลในMySQL

VARCHAR คล้ายกับแบบ CHAR(M) แต่สามารถปรับขนาดตามข้อมูลที่เก็บในฟิลด์ได้ ความกว้างเป็นได้ตั้งแต่ 1 ถึง 255 ตัวอักษร
TINYINT สำหรับเก็บข้อมูลชนิดตัวเลขที่มีขนาด 8 บิต ข้อมูลประเภทนี้เราสามารถกำหนดเพิ่มเติม ในส่วนของ "แอตทริบิวต์" ได้ว่าจะเลือกเป็น UNSIGNED หรือ UNSIGNED ZEROFILL โดยจะมีความแตกต่างดังนี้UNSIGNED : จะหมายถึงเก็บค่าตัวเลขแบบไม่มีเครื่องหมาย แบบนี้จะทำใหสามารถเก็บค่าได้ ตั้งแต่ 0 - 255 UNSIGNED ZEROFILL : เหมือนข้างต้น แต่ว่าหากข้อมูลที่กรอกเข้ามาไม่ครบตามจำนวน หลักที่เรากำหนด ตัว MySQL จะทำการเติม 0 ให้ครบหลักเอง เช่น ถ้ากำหนดให้ใส่ได้ 3 หลัก แล้วทำการเก็บข้อมูล 25 เข้าไป เวลาที่สืบค้นดู เราจะได้ค่าออกมาเป็น 025 หากไม่เลือก "แอ ตทริบิวต์" สิ่งที่เราจะได้ก็คือ SIGNED นั่นก็คือต้องเสียบิตนึงไปเก็บเครื่องหมาย บวก/ลบ ทำ ให้สามารถเก็บข้อมูลได้อยู่ในช่วง -128 ถึง 127 เท่านั้น
TEXT เป็น text ที่ความกว้างเป็นได้สูงสุด 65,535 ตัวอักษร
DATE ขนาดที่เก็บ 3 ไบต์เก็บค่าวันที่ในรูปแบบ YYYY-MM-DDโดยมีค่าตั้งแต่ 1000-01-01 ถึง 9999-12-31
SMALLINT สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 16 บิต จึงสามารถเก็บค่าได้ตั้งแต่ -32768 ถึง 32767 (ในกรณีแบบคิดเครื่องหมาย) หรือ 0 ถึง 65535 (ในกรณี UNSIGNED หรือไม่คิดเครื่องหมาย)ซึ่งสามารถเลือก Attribute เป็น UNSIGNED และ UNSIGNED ZEROFILL ได้เช่นเดียวกับ TINYINT
MEDIUMINT สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 24 บิต นั่นก็หมายความว่าสามารถเก็บ ข้อมูลตัวเลขได้ตั้งแต่ -8388608 ไปจนถึง 8388607 (ในกรณีแบบคิดเครื่องหมาย) หรือ 0 ถึง 16777215(ในกรณีที่เป็น UNSIGNED หรือไม่คิดเครื่องหมาย) ซึ่งสามารถเลือก Attribute เป็น UNSIGNED และ UNSIGNED ZEROFILL ได้เช่นเดียวกับ T
INT ขนาดที่เก็บ 4 ไบต์UNSIGNED เก็บค่าจำนวนเต็ม 0 ถึง 4294967295SIGNED เก็บค่าจำนวนเต็ม -2147483648 ถึง 2147483647
BIGINT ขนาดที่เก็บ 8 ไบต์UNSIGNED เก็บค่าจำนวนเต็ม 0 ถึง 18446744073709551615SIGNED เก็บค่าจำนวนเต็ม -9223372036854775808 ถึง 9223372036854775807
FLOAT ขนาดที่เก็บ 4 ไบต์เก็บค่าจำนวนจริงแบบ IEEEตั้งแต่ -3.402823466E+38 ถึง -1.175494351E-38และ 0และ 1.175494351E-38 ถึง 3.402823466E+38
DOUBLE ขนาดที่เก็บ 8 ไบต์เก็บค่าจำนวนจริงแบบ IEEEตั้งแต่ -1.7976931348623157E+308 ถึง -2.2250738585072014E-308และ 0และ 2.2250738585072014E-308 ถึง 1.7976931348623157E+308
DECIMAL สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขทศนิยม เช่นเดียวกับ FLOAT แต่ใช้กับข้อมูลที่ ต้องการความละเอียดและถูกต้องของข้อมูลสูง ข้อสังเกต เกี่ยวกับข้อมูลประเภท FLOAT, DOUBLE และ DECIMAL ก็คือ เวลากำหนดความ ยาวของข้อมูลในฟิลด์ จะถูกกำหนดอยู่ในรูปแบบ (M,D) ซึ่งหมายความว่า ต้องมีการระบุว่า จะให้มี ตัวเลขส่วนที่เป็นจำนวนเต็มกี่หลัก และมีเลขทศนิยมกี่หลัก เช่น ถ้าเรากำหนดว่า FLOAT(5,2) จะ หมายความว่า เราจะเก็บข้อมูลเป็นตัวเลขจำนวนเต็ม 5 หลัก และทศนิยม 2 หลัก ดังนั้นหากทำการใส่ ข้อมูล 12345.6789 เข้าไป สิ่งที่จะเข้าไปอยู่ในข้อมูลจริงๆ ก็คือ 12345.68 (ปัดเศษให้มีจำนวนหลัก ตามที่กำหนดไว้)
DATETIME ขนาดที่เก็บ 8 ไบต์เก็บค่าวันที่และเวลาในรูปแบบ YYYY-MM-DD HH:mm:SSโดยมีค่าตั้งแต่ 1000-01-01 00:00:00 ถึง 9999-12-31 23:59:59
TIMESTAMP ขนาดที่เก็บ 4 ไบต์เก็บวันที่และเวลาในรูปแบบ String Timestampm = 14 หรือไม่กำหนด -> YYYYMMDDHHmmSSm = 12 -> YYMMDDHHmmSSm = 10 -> YYMMDDHHmmm = 8 -> YYYYMMDDm = 6 -> YYMMDDm = 4 -> YYMMm = 2 -> YYโดยมีค่าตั้งแต่ 1970-01-01 00:00:00 ถึง 2037
TIME ข้อมูลประเภทเวลา สามารถเป็นได้ตั้งแต่ ‘-838:59:59’ ถึง ‘838:59:59’ แสดงผลในรูปแบบ HH:MM:SS
YEAR ข้อมูลประเภทปี คศ โดยสามารถเลือกว่าจะใช้แบบ 2 หรือ 4 หลักถ้าเป็น 2 หลักจะใช้ได้ตั้งแต่ปี คศ 1901 ถึง 2155ถ้าเป็น 4 หลักจะใช้ได้ตั้งแต่ปี คศ 1970 ถึง 2069
CHAR เป็นข้อมูลสตริงที่จำกัดความกว้าง ไม่สามารถปรับขนาดได้ ขนาดความกว้างเป็นได้ตั้งแต่ 1 ถึง 255 ตัวอักษร
TINYBLOB ขนาดที่เก็บตามข้อมูลจริง +1 ไบต์ แต่ไม่เกิน 255 ไบต์เก็บค่าอักษรตามรหัส ASCII หรือข้อมูล BINARY
TINYTEXT ขนาดที่เก็บตามข้อมูลจริง +1 ไบต์ แต่ไม่เกิน 255 ไบต์เก็บค่าอักษรตามรหัส ASCII หรือข้อมูล BINARY
BLOB ขนาดที่เก็บตามข้อมูลจริง +2 ไบต์ แต่ไม่เกิน 65535 ไบต์เก็บค่าอักษรตามรหัส ASCII หรือข้อมูล BINARY
MEDIUMBLOB ขนาดที่เก็บตามข้อมูลจริง +3 ไบต์ แต่ไม่เกิน 16777215 ไบต์เก็บค่าอักษรตามรหัส ASCII หรือข้อมูล BINARY
MEDIUMTEXT ขนาดที่เก็บตามข้อมูลจริง +3 ไบต์ แต่ไม่เกิน 16777215 ไบต์เก็บค่าอักษรตามรหัส ASCII หรือข้อมูล BINARY
LONGBLOB ขนาดที่เก็บตามข้อมูลจริง +4 ไบต์ แต่ไม่เกิน 4294967295 ไบต์เก็บค่าอักษรตามรหัส ASCII หรือข้อมูล BINARY
LONGTEXT ขนาดที่เก็บตามข้อมูลจริง +4 ไบต์ แต่ไม่เกิน 4294967295 ไบต์เก็บค่าอักษรตามรหัส ASCII หรือข้อมูล BINARY
ENUM ขนาดที่เก็บ 1 หรือ 2 ไบต์ ตามจำนวนค่า value ซึ่งกำหนดได้มากที่สุด 65535 ค่าเก็บค่าตาม value ที่กำหนด
SET ขนาดที่เก็บ 1, 2, 3, 4 หรือ 8 ไบต์ ตามจำนวนค่า value ซึ่งกำหนดได้มากที่สุด 64 ค่าเก็บค่าตาม value ที่กำหนด
BOOL เป็นชนิดข้อมูลที่เก็บได้เพียง2ค่าเท่านั้น คือ True กับ false
BINARY ระบบเลขที่มีสัญลักษณ์เพียงสองตัวคือ
0 (ศูนย์) กับ 1 (หนึ่ง) บางครั้งอาจหมายถึงการที่มีโอกาสเลือกได้เพียง 2 ทาง เช่น ปิดกับเปิด, ไม่ใช่กับใช่, เท็จกับจริง, ซ้ายกับขวา เป็นต้น
VARBINARY คือ มีลักษณะการเก็บคล้าย Varcha คือการเก็บข้อมูลตามที่รับมาจริงเท่านั้น มีขนาดสูงสุดมากถึง
8000 ไบต์

วันพฤหัสบดีที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2552

วิธีการติดตั้ง Appserv - win 32-2.5.9

ดาวน์โหลดโปรแกรม Appserv-win 32-2.5.9

จากเว็บ http://kitt.kvc.ac.th/download ลงในเครื่องของตัวเอง
เมื่อดาวน์โหลดเสร็จให้ดับเบิ้ลคลิก ไฟล์ Appserv-win 32-2.5.9ขี้นมาจะเจอหน้าต่าง
Open File - Security Warning
คลิก Runจะเข้าสู่หน้าจอ AppServ 2.5.9Setup
จากนั้นคลิกปุ่ม Next เพื่อดำเนินการต่อ
คลิก I Agree เพื่อยอมรับข้อตกลง เลือกเส้นทางเก็บโปรแกรมในที่นี้เลือกเป็น
C:\AppServ เพื่อที่จะเก็บตัวโปรแกรม
จากนั้นคลิก Nextแล้วทำการเลือกAppserv Package Components
ให้คลิกเลือกทั้งหมดซึ่งเป็นโปรแกรมที่จะต้องติดตั้งลงเครื่องของเรา
จากนั้นคลิก Next เพื่อดำเนินการต่อ
ก็จะปรากฎหน้าต่างให้กรอก Server Name ในที่นี้ให้กรอก localhost และกรอก E-mail Address เสร็จแล้วคลิกปุ่ม Nextจะปรากฏหน้าต่างให้กรอก Password แล้วเลือกรูปแบบภาษาให้เป็น UTF-8 Unicode
เมื่อกรอกเสร็จให้คลิก Install ก็จะเข้าสู่กระบวนการติดตั้งรอสักครู่จากนั้นก็คลิกปุ่ม Finish ก็จะเป็นการเสร็จสิ้นขั้นตอนการติดตั้ง โปรแกรมAppserv-win 32-2.5.9